วันอังคารที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2553
วันอาทิตย์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่ 15
วันพุธ ที่ 29 กันยายน 2553
สอนเทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์
- ในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์จะต้องมีกิจกรรมที่น่าสนใจ มีสีสัน แปลกใหม่ และที่สำคัญจะต้องเหมาะสมและตรงตามพัฒนาการของเด็ก
- สร้างความเชื่อมั่นในตนเองให้กับเด็ก ให้เด็กรู้สึกว่าตัวเองมีค่า มีความสามารถและหัดให้เด็กรู้วิธีการหาคำตอบด้วยตนเอง
บทบาทของครู
- ต้องมีความรู้ว่าเด็กมีพัฒนาแบบไหน
- ทดสอบประสบการณ์ของเด็ก
- วิธีการเรียนรู้ของเด็ก
- เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก
- ไม่นำกิจกรรมที่ต้องระวังมากจนเกินไป
สภาพแวดล้อมในห้องเรียน
-การสังเกตและการเปลี่ยนแปลง จัดมุมประสบการณ์ มีการนำผลไม้มาวาง สังเกตวันที่ 1เป็นอย่างไร วันที่ 2 เป็นอย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงมากน้อยแค่ไหน โดยการให้เด็กได้จดบันทึก
ครูจะสอนวิทยาศาสตร์อย่างไร
-ครูจะต้องเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม ต้องคอยกระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ครูไม่ควรยัดเยียดความรู้ให้กับเด็กมากจนเกินไป ใจเย็นๆในการที่จะให้ความรู้กับเด็ก ควรให้เด็กได้หาคำตอบด้วยตัว เอง คำถามควรจะเป็นคำถามที่กระตุ้นให้เด็กเกิดคุณสมบัติของนักวิทยาศาสตร์ เช่น ฝึกให้เด็กเป็นคนมีเหตุผล รู้สังเกต รู้จักคิดด้วยตนเอง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในโอกาสต่างๆด้
การประเมิน
- การสังเกตเด็ก
- การซักถาม แต่อย่าให้เหมือนกับการสอบสวน จะทำให้เด็กรู้สึกเครียด การวัดก็จะไม่ได้ผลดี ควรจะเป็นไปในลักษณะของการพูดคุยมากกว่า
-วัดจากตัวเด็กเอง เด็กจะสรุปบอกเล่าจากความเข้าใจของตัวเอง
- การดูผลงาน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการทางการวาด การใช้ภาษาได้มากน้อยแค่ไหน
หมายเหตุ อาจารย์ให้กลับไปทำเทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์ใหม่ เนื่องจากทำงานไม่ตรงประเด็นกับที่อาจารย์สั่ง และที่สำคัญจะต้องมีแหล่งอ้างอิงด้วย
สอนเทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์
- ในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์จะต้องมีกิจกรรมที่น่าสนใจ มีสีสัน แปลกใหม่ และที่สำคัญจะต้องเหมาะสมและตรงตามพัฒนาการของเด็ก
- สร้างความเชื่อมั่นในตนเองให้กับเด็ก ให้เด็กรู้สึกว่าตัวเองมีค่า มีความสามารถและหัดให้เด็กรู้วิธีการหาคำตอบด้วยตนเอง
บทบาทของครู
- ต้องมีความรู้ว่าเด็กมีพัฒนาแบบไหน
- ทดสอบประสบการณ์ของเด็ก
- วิธีการเรียนรู้ของเด็ก
- เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก
- ไม่นำกิจกรรมที่ต้องระวังมากจนเกินไป
สภาพแวดล้อมในห้องเรียน
-การสังเกตและการเปลี่ยนแปลง จัดมุมประสบการณ์ มีการนำผลไม้มาวาง สังเกตวันที่ 1เป็นอย่างไร วันที่ 2 เป็นอย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงมากน้อยแค่ไหน โดยการให้เด็กได้จดบันทึก
ครูจะสอนวิทยาศาสตร์อย่างไร
-ครูจะต้องเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม ต้องคอยกระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ครูไม่ควรยัดเยียดความรู้ให้กับเด็กมากจนเกินไป ใจเย็นๆในการที่จะให้ความรู้กับเด็ก ควรให้เด็กได้หาคำตอบด้วยตัว เอง คำถามควรจะเป็นคำถามที่กระตุ้นให้เด็กเกิดคุณสมบัติของนักวิทยาศาสตร์ เช่น ฝึกให้เด็กเป็นคนมีเหตุผล รู้สังเกต รู้จักคิดด้วยตนเอง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในโอกาสต่างๆด้
การประเมิน
- การสังเกตเด็ก
- การซักถาม แต่อย่าให้เหมือนกับการสอบสวน จะทำให้เด็กรู้สึกเครียด การวัดก็จะไม่ได้ผลดี ควรจะเป็นไปในลักษณะของการพูดคุยมากกว่า
-วัดจากตัวเด็กเอง เด็กจะสรุปบอกเล่าจากความเข้าใจของตัวเอง
- การดูผลงาน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการทางการวาด การใช้ภาษาได้มากน้อยแค่ไหน
หมายเหตุ อาจารย์ให้กลับไปทำเทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์ใหม่ เนื่องจากทำงานไม่ตรงประเด็นกับที่อาจารย์สั่ง และที่สำคัญจะต้องมีแหล่งอ้างอิงด้วย
วันจันทร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2553
บีนทึกครั้งที่ 14
วันพุธที่ 22 กันยายน 2553
สรุปงานแผนผังที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน การจัดโต๊ะ เก้าอี้ในรูปแบบของเกือกม้า หรือปากชามการจัดที่นั่งแบบนี้ ช่วยในการเรียนการสอน เช่น การจัดกิจกรรมการทดลอง เด็กได้เรียนรู้จากการจับ และปฏิบัติสรุปองค์ประกอบของการเขียนแผนผัง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การดิความสัมพันธ์ของ 2อย่างเข้าด้วยกัน การสังเกต ,การวัด จำแนก ,มิติเวลา
หมายเหตุ ทำไมไม่ควรให้เด็กใช้ดินสอในการวาดรูป?ทีไม่ควรใช้ดินสอเพราะเด็กจะขาดความเชื่อมั่น การใช้ดินสอเด็กสามารถลบได้ แต่สีเทียนเมื่อเด็กได้วาดลงไปแล้ว เด็กจะไม่สามารถลบได้ เด็กจะเกิดการเรียนรู้มากที่สุด เด็กก็จะสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
สรุปงานแผนผังที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน การจัดโต๊ะ เก้าอี้ในรูปแบบของเกือกม้า หรือปากชามการจัดที่นั่งแบบนี้ ช่วยในการเรียนการสอน เช่น การจัดกิจกรรมการทดลอง เด็กได้เรียนรู้จากการจับ และปฏิบัติสรุปองค์ประกอบของการเขียนแผนผัง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การดิความสัมพันธ์ของ 2อย่างเข้าด้วยกัน การสังเกต ,การวัด จำแนก ,มิติเวลา
หมายเหตุ ทำไมไม่ควรให้เด็กใช้ดินสอในการวาดรูป?ทีไม่ควรใช้ดินสอเพราะเด็กจะขาดความเชื่อมั่น การใช้ดินสอเด็กสามารถลบได้ แต่สีเทียนเมื่อเด็กได้วาดลงไปแล้ว เด็กจะไม่สามารถลบได้ เด็กจะเกิดการเรียนรู้มากที่สุด เด็กก็จะสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
บันทึกครั้งที่ 13
วันพุธ ที่ 15 กันยายน 2553
มีการนำเสนอ mind map องค์ความรู้ใหม่ (ต่อ) มีการเพิ่มเนื้อหาใหม่ๆ ปรับปรุงให้สมบูรณ์และให้สอดคล้องกับวิทยาศาสตร์
มีการนำเสนอ mind map องค์ความรู้ใหม่ (ต่อ) มีการเพิ่มเนื้อหาใหม่ๆ ปรับปรุงให้สมบูรณ์และให้สอดคล้องกับวิทยาศาสตร์
บันทึกครั้งที่ 12
วันพุธ ที่ 8 กันยายน 2553
สรุปกิจกรรมจากการไปทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์ โดยสรุปหน้าชั้นเรียนในรูปแบบของ power point ทีละกลุ่ม แบ่งกลุ่มเลือกหน่วย 1 หน่วย แยกส่วนประกอบที่สำคัญๆเพื่อนำมาสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ โดยนำวิทยาศาสตร์มาประกอบในการสร้างองค์ความรู้ใหม่
สรุปกิจกรรมจากการไปทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์ โดยสรุปหน้าชั้นเรียนในรูปแบบของ power point ทีละกลุ่ม แบ่งกลุ่มเลือกหน่วย 1 หน่วย แยกส่วนประกอบที่สำคัญๆเพื่อนำมาสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ โดยนำวิทยาศาสตร์มาประกอบในการสร้างองค์ความรู้ใหม่
วันจันทร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่ 9
บันทึกครั้งที่ 7
บันทึกครั้งที่ 7 วันพุธ ที่ 4 สิงหาคม 2553
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจาก มีกิจกรรมบายศรีของเอก การศึกษาปฐมวัย
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจาก มีกิจกรรมบายศรีของเอก การศึกษาปฐมวัย
วันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่ 6
บันทึกครั้งที่ 6
วันพุธ ที่ 28 กรกฎาคม 2553
ดูวิดีทัศน์เรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ
1.การทดลองการปั่นผลไม้ ในการทดลองนี้จะฝึกให้เด็กสังเกต มีการใช้คำถามเชื่อมโยงให้เห็นการเก็บน้ำของอูฐและต้นกระบองเพชร
2.การทดลองน้ำแข็ง (น้ำเปลี่ยนสถานะ) เกิดการควบแน่นและเชื่องโยงไปถึงการเกิดของฝน ในการเกิดฝนเกิดจากพลังจากแสงอาทิตย์ลงมายังผิวน้ำ ผิวน้ำก็กลายเป็นไอเกิดการรวมตัวเป็นก้อน ทำให้ท้องฟ้าเย็นจนกลายเป็นเม็ดฝน
3.การทดลอง น้ำใส่แก้วแล้วแช่เย็น ความหนาแน่น ในธรรมชาติแล้วสสารในโลกจะมีโมเลกุลเมื่อน้ำกลายเป็นน้ำแข็งน้ำจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นถึง 12 เปอร์เซ็นต์ ฉะนั้นเมื่อเทน้ำไปใส่แก้วแล้วแช่เย็นเมื่อแข็งตัวน้ำในแก้วก็จะมีปริมาณเพิ่มขึ้น
4.การทดลองแครอทใส่ในแก้ว เกิดความหนาแน่นระหว่างน้ำเกลือกับน้ำเปล่า แต่เกลือจะมีความหนาแน่นมากกว่า จะสังเกตได้ว่าเมื่นำแครอทลงในน้ำเปล่าจะปรากฏว่าแครอทจะจม แต่เมื่อเทน้ำเกลือลงไปจะสังเกตได้ว่าแครอทจะลอยขึ้นมา นั่นก็เป็นเพราะว่า เกลื่อมีความหนาแน่นมากกว่า เกลือจึงดันให้แครอทลอยขึ้น
5.การตกของน้ำแข็ง ในการทดลองนำผ้าก็อตวางลงบนน้ำแข็งแล้วใช้เกลือโรยจะปรากฏว่าน้ำแข็งจะติดผ้าก็อตขึ้นมา ก็เป็นเพราะว่าเกลือจะดูดความร้อนจากบริเวณที่ใกล้ จึงทำให้น้ำแข็งติดกับผ้าก็อต
6.การทดลองแรงดันจากการเจาะรูจากขวด (ถ้าบริเวณที่มีส่วนลึกน้ำก็จะมีแรงดันมากกว่าบริเวณที่ตื้นกว่า) อากาศจะเข้ไปแทนที่น้ำจึงทำให้น้ำออกมาจากขวด จะเปรียบเสมือนการสร้างเขื่อนบริเวณที่อยู่ลึกกว่าจะต้องมีความหนามากกว่าบริเวณที่ตื้น มิฉะนั้นแรงดันบริเวณที่ลึกจะทำให้เขื่อนพังลงมาได้
วันพุธ ที่ 28 กรกฎาคม 2553
ดูวิดีทัศน์เรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ
1.การทดลองการปั่นผลไม้ ในการทดลองนี้จะฝึกให้เด็กสังเกต มีการใช้คำถามเชื่อมโยงให้เห็นการเก็บน้ำของอูฐและต้นกระบองเพชร
2.การทดลองน้ำแข็ง (น้ำเปลี่ยนสถานะ) เกิดการควบแน่นและเชื่องโยงไปถึงการเกิดของฝน ในการเกิดฝนเกิดจากพลังจากแสงอาทิตย์ลงมายังผิวน้ำ ผิวน้ำก็กลายเป็นไอเกิดการรวมตัวเป็นก้อน ทำให้ท้องฟ้าเย็นจนกลายเป็นเม็ดฝน
3.การทดลอง น้ำใส่แก้วแล้วแช่เย็น ความหนาแน่น ในธรรมชาติแล้วสสารในโลกจะมีโมเลกุลเมื่อน้ำกลายเป็นน้ำแข็งน้ำจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นถึง 12 เปอร์เซ็นต์ ฉะนั้นเมื่อเทน้ำไปใส่แก้วแล้วแช่เย็นเมื่อแข็งตัวน้ำในแก้วก็จะมีปริมาณเพิ่มขึ้น
4.การทดลองแครอทใส่ในแก้ว เกิดความหนาแน่นระหว่างน้ำเกลือกับน้ำเปล่า แต่เกลือจะมีความหนาแน่นมากกว่า จะสังเกตได้ว่าเมื่นำแครอทลงในน้ำเปล่าจะปรากฏว่าแครอทจะจม แต่เมื่อเทน้ำเกลือลงไปจะสังเกตได้ว่าแครอทจะลอยขึ้นมา นั่นก็เป็นเพราะว่า เกลื่อมีความหนาแน่นมากกว่า เกลือจึงดันให้แครอทลอยขึ้น
5.การตกของน้ำแข็ง ในการทดลองนำผ้าก็อตวางลงบนน้ำแข็งแล้วใช้เกลือโรยจะปรากฏว่าน้ำแข็งจะติดผ้าก็อตขึ้นมา ก็เป็นเพราะว่าเกลือจะดูดความร้อนจากบริเวณที่ใกล้ จึงทำให้น้ำแข็งติดกับผ้าก็อต
6.การทดลองแรงดันจากการเจาะรูจากขวด (ถ้าบริเวณที่มีส่วนลึกน้ำก็จะมีแรงดันมากกว่าบริเวณที่ตื้นกว่า) อากาศจะเข้ไปแทนที่น้ำจึงทำให้น้ำออกมาจากขวด จะเปรียบเสมือนการสร้างเขื่อนบริเวณที่อยู่ลึกกว่าจะต้องมีความหนามากกว่าบริเวณที่ตื้น มิฉะนั้นแรงดันบริเวณที่ลึกจะทำให้เขื่อนพังลงมาได้
วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่ 5
บันทึกครั้งที่ 5
วันพุธ ที่ 21 กรกฎาคม 2553
กลุ่มที่ 1 โครงการตกแต่งถุงผ้าภาวะโลกร้อน
วิธีการนำเสนอ
เพื่อนประเมิน 1.เกิดความตระหนักที่อยากจะกลับมาใช้
2.หนังสือใน power point ตัวเล็กเกินไป
3.เนื้อหาเยอะ
วิธีแก้คือให้สรุปให้น้อยกว่านี้ ปรับเนื้อหาให้เป็นแหล่งข้อมูลหรืออาจทำเป็นลิงค์ลงใน blog ภาวะโลกแทน
อาจารย์เพิ่มเติม 1.น่าจะมี VCD เกี่ยวกับภาวะโลกร้อนมาใส่บ้าง
2.ตัวบทบาทสมมุติ ถุงผ้าไปเชื่อมโยงกับภาวะโลกร้อนได้อย่างไร เราจะต้องสะท้อนให้เห็นชัดว่าถุงพลาสติกย่อยสลายยาก กำจัดยาก
3. ทำแผนประเมินโครงการ
4.วิธีประเมินมี 3 ส่วน - งบใช้สอย
-งบอาหาร
-งบวัสดุ
วันพุธ ที่ 21 กรกฎาคม 2553
กลุ่มที่ 1 โครงการตกแต่งถุงผ้าภาวะโลกร้อน
วิธีการนำเสนอ
เพื่อนประเมิน 1.เกิดความตระหนักที่อยากจะกลับมาใช้
2.หนังสือใน power point ตัวเล็กเกินไป
3.เนื้อหาเยอะ
วิธีแก้คือให้สรุปให้น้อยกว่านี้ ปรับเนื้อหาให้เป็นแหล่งข้อมูลหรืออาจทำเป็นลิงค์ลงใน blog ภาวะโลกแทน
อาจารย์เพิ่มเติม 1.น่าจะมี VCD เกี่ยวกับภาวะโลกร้อนมาใส่บ้าง
2.ตัวบทบาทสมมุติ ถุงผ้าไปเชื่อมโยงกับภาวะโลกร้อนได้อย่างไร เราจะต้องสะท้อนให้เห็นชัดว่าถุงพลาสติกย่อยสลายยาก กำจัดยาก
3. ทำแผนประเมินโครงการ
4.วิธีประเมินมี 3 ส่วน - งบใช้สอย
-งบอาหาร
-งบวัสดุ
วันจันทร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่ 4
บันทึกครั้งที่ 4
วันพุธ ที่ 14 กรกรฎาคม 2553
นำเสนอ
1. โครงการกระถางต้นไม้สุดประหยัดจากขวดพลาสติก
2. โครงการแม่ลูกช่วยกันระบายสีถุงผ้าลดโลกร้อน
3. โครงการการประดิษฐ์ตระกร้าจากกล่องนม
4. โครงการกิจกรรมลดโลกร้อนของเด็กปฐมวัย
5. โครงการถังขยะมหัศจรรย์
ท้ายชั่วโมง
- สรุปแต่ละโครงการ มีขอปรับปรุง เพิ่ม และแก้ไขในครั้งต่อไป
อาจารย์สั่งงาน
1. ไปวางแผนโครงการของกลุ่มตัวเอง (กลุ่มหนูได้โครงการแม่ลูกช่วยกันระบายสีถุงผ้าลดโลกร้อน)
2. ทำสื่อการเรียน ศิลปะกับวิทยาศาสตร์
หมายเหตุ อาจารย์หน้าอาจารย์เรียน 09.00 น เนื่องจากอาจารย์ติดธุระ
วันพุธ ที่ 14 กรกรฎาคม 2553
นำเสนอ
1. โครงการกระถางต้นไม้สุดประหยัดจากขวดพลาสติก
2. โครงการแม่ลูกช่วยกันระบายสีถุงผ้าลดโลกร้อน
3. โครงการการประดิษฐ์ตระกร้าจากกล่องนม
4. โครงการกิจกรรมลดโลกร้อนของเด็กปฐมวัย
5. โครงการถังขยะมหัศจรรย์
ท้ายชั่วโมง
- สรุปแต่ละโครงการ มีขอปรับปรุง เพิ่ม และแก้ไขในครั้งต่อไป
อาจารย์สั่งงาน
1. ไปวางแผนโครงการของกลุ่มตัวเอง (กลุ่มหนูได้โครงการแม่ลูกช่วยกันระบายสีถุงผ้าลดโลกร้อน)
2. ทำสื่อการเรียน ศิลปะกับวิทยาศาสตร์
หมายเหตุ อาจารย์หน้าอาจารย์เรียน 09.00 น เนื่องจากอาจารย์ติดธุระ
วันอาทิตย์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่3
บันทึกครั้งที่3
วันพุธที่ 7 กรกฎาคม 2553
1. มีการส่งตัวแทนออกไปนำเสนอกิจกรรมภาวะโลกร้อน
กลุ่มอายุ 4 ขวบ เรื่อง ถุงผ้าลดภาวะโลกร้อน
กลุ่มอายุ 3 ขวบ เรื่อง ขยะรีไซเคิล
กลุมอายุ 5 ขวบ เรื่อง การเรียงภาพการตัดต้นไม้ทำลายป่า
กลุ่มอายุ 4 ขวบ เรื่อง ชุดจากถุงขนม รองเท้าจากขวดน้ำ
กลุ่มอายุ 5 ขวบ เรื่อง การเก็บขยะ การแยกขยะ
2. จากนั้นอาจารย์สรุปแต่ละกิจกรรมที่ได้นำเสนอไปแต่ละกลุ่ม
3. อาจารย์สั่งงานแต่ละกลุ่มให้ไปคิดโครงการและวิธีการทำโครงการแล้วนำมาเสนออาจารย์หน้า
วันพุธที่ 7 กรกฎาคม 2553
1. มีการส่งตัวแทนออกไปนำเสนอกิจกรรมภาวะโลกร้อน
กลุ่มอายุ 4 ขวบ เรื่อง ถุงผ้าลดภาวะโลกร้อน
กลุ่มอายุ 3 ขวบ เรื่อง ขยะรีไซเคิล
กลุมอายุ 5 ขวบ เรื่อง การเรียงภาพการตัดต้นไม้ทำลายป่า
กลุ่มอายุ 4 ขวบ เรื่อง ชุดจากถุงขนม รองเท้าจากขวดน้ำ
กลุ่มอายุ 5 ขวบ เรื่อง การเก็บขยะ การแยกขยะ
2. จากนั้นอาจารย์สรุปแต่ละกิจกรรมที่ได้นำเสนอไปแต่ละกลุ่ม
3. อาจารย์สั่งงานแต่ละกลุ่มให้ไปคิดโครงการและวิธีการทำโครงการแล้วนำมาเสนออาจารย์หน้า
วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่ 2
บันทึกครั้งที่2
วันพุธ 30 กรกฎาคม 2553
ปฐมนิเทศ
1. การแต่งกายตามระเบียบมหาวิทยาลัย
2. การมาเรียน
สอนเรื่องเด็กปฐมวัย กับ วิทยาศาสตร์
นิยาม ช่วงปฐมวัยแรกเกิด - 5 ปี จะมีพฤติกรรมที่ออกมานั้นจะมีพัฒนาการอย่างลำดับอย่างต่อเนื่อง
มีการใช้คำถามเริ่มเข้าสู่บทเรียน เช่น
1. วิทยาศาสตร์เป็นยาขมสำหรับเด็กจริงเหรอ?
2.ถ้าเด็กเรียนวิทยาศาสตร์ตั้งแต่ชั้นอนุบาลจะยากเกินไปไหม ?
วิทยาศาสตร์ คือ ความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและตัวตนของตัวเอง
ในความพยายามเช่นนี้จะติดตัวมนุย์มาตั้งแต่เกิด สะท้อนให้เห็นจากธรรมชาติ อยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกต และจะคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เขาไปเจอมา บางครั้งก็จะเป็นคำถามที่ยากเกินกว่าที่ผู้ใหญ่จะตอบได้
สรุปของหนูเอง
วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยนั้นจะเริ่มที่สติปัญญาของเด็ก วิทยาศาสตร์เป็นเหมือนตัวสะท้อนเด็กว่า เด็กสามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหากับสิ่งต่างๆได้ไหม โดยในธรรมชาติของเด็กแล้วสิ่งที่พวกเขาซักถามมันจะเป็นตัวเชื่อมโยงกับสมองเหมือนเป็นตัวกระตุ้นให้เด็กมีพัฒนาการและช่วงอายุไปตามวัย ในธรรมชาติของเด็กนั้นครูและผู้ปกครองไม่ควรปิดกั้นโอกาสในการแสดงความสามารถของเด็กให้เขาได้คิดต่อยอดเหมือนเป็นการปูทางสู่ให้เด็กได้เรียนรู้ได้มากขึ้นในวัยที่สูงขึ้นไป
อาจารย์สั่งงานกลุ่ม หากิจกรรมที่เกี่ยวกับภาวะโลกร้อน ได้เด็กอายุ 4 ขวบค่ะ
วันพุธ 30 กรกฎาคม 2553
ปฐมนิเทศ
1. การแต่งกายตามระเบียบมหาวิทยาลัย
2. การมาเรียน
สอนเรื่องเด็กปฐมวัย กับ วิทยาศาสตร์
นิยาม ช่วงปฐมวัยแรกเกิด - 5 ปี จะมีพฤติกรรมที่ออกมานั้นจะมีพัฒนาการอย่างลำดับอย่างต่อเนื่อง
มีการใช้คำถามเริ่มเข้าสู่บทเรียน เช่น
1. วิทยาศาสตร์เป็นยาขมสำหรับเด็กจริงเหรอ?
2.ถ้าเด็กเรียนวิทยาศาสตร์ตั้งแต่ชั้นอนุบาลจะยากเกินไปไหม ?
วิทยาศาสตร์ คือ ความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและตัวตนของตัวเอง
ในความพยายามเช่นนี้จะติดตัวมนุย์มาตั้งแต่เกิด สะท้อนให้เห็นจากธรรมชาติ อยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกต และจะคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เขาไปเจอมา บางครั้งก็จะเป็นคำถามที่ยากเกินกว่าที่ผู้ใหญ่จะตอบได้
สรุปของหนูเอง
วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยนั้นจะเริ่มที่สติปัญญาของเด็ก วิทยาศาสตร์เป็นเหมือนตัวสะท้อนเด็กว่า เด็กสามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหากับสิ่งต่างๆได้ไหม โดยในธรรมชาติของเด็กแล้วสิ่งที่พวกเขาซักถามมันจะเป็นตัวเชื่อมโยงกับสมองเหมือนเป็นตัวกระตุ้นให้เด็กมีพัฒนาการและช่วงอายุไปตามวัย ในธรรมชาติของเด็กนั้นครูและผู้ปกครองไม่ควรปิดกั้นโอกาสในการแสดงความสามารถของเด็กให้เขาได้คิดต่อยอดเหมือนเป็นการปูทางสู่ให้เด็กได้เรียนรู้ได้มากขึ้นในวัยที่สูงขึ้นไป
อาจารย์สั่งงานกลุ่ม หากิจกรรมที่เกี่ยวกับภาวะโลกร้อน ได้เด็กอายุ 4 ขวบค่ะ
บันทึกการเรียนครั้งที่ 1
บันทึกครั้งที่ 1
วันพุธ ที่ 23 มิถุนายน 53
เข้าร่วมกิจกรรมรับน้องของมหาวิทยาลัย
วันพุธ ที่ 23 มิถุนายน 53
เข้าร่วมกิจกรรมรับน้องของมหาวิทยาลัย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)