SCIENCE EXPERIENCES FOR EARLY CHILDHOOD
วันอังคารที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2553
วันอาทิตย์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่ 15
วันพุธ ที่ 29 กันยายน 2553
สอนเทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์
- ในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์จะต้องมีกิจกรรมที่น่าสนใจ มีสีสัน แปลกใหม่ และที่สำคัญจะต้องเหมาะสมและตรงตามพัฒนาการของเด็ก
- สร้างความเชื่อมั่นในตนเองให้กับเด็ก ให้เด็กรู้สึกว่าตัวเองมีค่า มีความสามารถและหัดให้เด็กรู้วิธีการหาคำตอบด้วยตนเอง
บทบาทของครู
- ต้องมีความรู้ว่าเด็กมีพัฒนาแบบไหน
- ทดสอบประสบการณ์ของเด็ก
- วิธีการเรียนรู้ของเด็ก
- เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก
- ไม่นำกิจกรรมที่ต้องระวังมากจนเกินไป
สภาพแวดล้อมในห้องเรียน
-การสังเกตและการเปลี่ยนแปลง จัดมุมประสบการณ์ มีการนำผลไม้มาวาง สังเกตวันที่ 1เป็นอย่างไร วันที่ 2 เป็นอย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงมากน้อยแค่ไหน โดยการให้เด็กได้จดบันทึก
ครูจะสอนวิทยาศาสตร์อย่างไร
-ครูจะต้องเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม ต้องคอยกระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ครูไม่ควรยัดเยียดความรู้ให้กับเด็กมากจนเกินไป ใจเย็นๆในการที่จะให้ความรู้กับเด็ก ควรให้เด็กได้หาคำตอบด้วยตัว เอง คำถามควรจะเป็นคำถามที่กระตุ้นให้เด็กเกิดคุณสมบัติของนักวิทยาศาสตร์ เช่น ฝึกให้เด็กเป็นคนมีเหตุผล รู้สังเกต รู้จักคิดด้วยตนเอง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในโอกาสต่างๆด้
การประเมิน
- การสังเกตเด็ก
- การซักถาม แต่อย่าให้เหมือนกับการสอบสวน จะทำให้เด็กรู้สึกเครียด การวัดก็จะไม่ได้ผลดี ควรจะเป็นไปในลักษณะของการพูดคุยมากกว่า
-วัดจากตัวเด็กเอง เด็กจะสรุปบอกเล่าจากความเข้าใจของตัวเอง
- การดูผลงาน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการทางการวาด การใช้ภาษาได้มากน้อยแค่ไหน
หมายเหตุ อาจารย์ให้กลับไปทำเทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์ใหม่ เนื่องจากทำงานไม่ตรงประเด็นกับที่อาจารย์สั่ง และที่สำคัญจะต้องมีแหล่งอ้างอิงด้วย
สอนเทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์
- ในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์จะต้องมีกิจกรรมที่น่าสนใจ มีสีสัน แปลกใหม่ และที่สำคัญจะต้องเหมาะสมและตรงตามพัฒนาการของเด็ก
- สร้างความเชื่อมั่นในตนเองให้กับเด็ก ให้เด็กรู้สึกว่าตัวเองมีค่า มีความสามารถและหัดให้เด็กรู้วิธีการหาคำตอบด้วยตนเอง
บทบาทของครู
- ต้องมีความรู้ว่าเด็กมีพัฒนาแบบไหน
- ทดสอบประสบการณ์ของเด็ก
- วิธีการเรียนรู้ของเด็ก
- เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก
- ไม่นำกิจกรรมที่ต้องระวังมากจนเกินไป
สภาพแวดล้อมในห้องเรียน
-การสังเกตและการเปลี่ยนแปลง จัดมุมประสบการณ์ มีการนำผลไม้มาวาง สังเกตวันที่ 1เป็นอย่างไร วันที่ 2 เป็นอย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงมากน้อยแค่ไหน โดยการให้เด็กได้จดบันทึก
ครูจะสอนวิทยาศาสตร์อย่างไร
-ครูจะต้องเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม ต้องคอยกระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ครูไม่ควรยัดเยียดความรู้ให้กับเด็กมากจนเกินไป ใจเย็นๆในการที่จะให้ความรู้กับเด็ก ควรให้เด็กได้หาคำตอบด้วยตัว เอง คำถามควรจะเป็นคำถามที่กระตุ้นให้เด็กเกิดคุณสมบัติของนักวิทยาศาสตร์ เช่น ฝึกให้เด็กเป็นคนมีเหตุผล รู้สังเกต รู้จักคิดด้วยตนเอง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในโอกาสต่างๆด้
การประเมิน
- การสังเกตเด็ก
- การซักถาม แต่อย่าให้เหมือนกับการสอบสวน จะทำให้เด็กรู้สึกเครียด การวัดก็จะไม่ได้ผลดี ควรจะเป็นไปในลักษณะของการพูดคุยมากกว่า
-วัดจากตัวเด็กเอง เด็กจะสรุปบอกเล่าจากความเข้าใจของตัวเอง
- การดูผลงาน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการทางการวาด การใช้ภาษาได้มากน้อยแค่ไหน
หมายเหตุ อาจารย์ให้กลับไปทำเทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์ใหม่ เนื่องจากทำงานไม่ตรงประเด็นกับที่อาจารย์สั่ง และที่สำคัญจะต้องมีแหล่งอ้างอิงด้วย
วันจันทร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2553
บีนทึกครั้งที่ 14
วันพุธที่ 22 กันยายน 2553
สรุปงานแผนผังที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน การจัดโต๊ะ เก้าอี้ในรูปแบบของเกือกม้า หรือปากชามการจัดที่นั่งแบบนี้ ช่วยในการเรียนการสอน เช่น การจัดกิจกรรมการทดลอง เด็กได้เรียนรู้จากการจับ และปฏิบัติสรุปองค์ประกอบของการเขียนแผนผัง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การดิความสัมพันธ์ของ 2อย่างเข้าด้วยกัน การสังเกต ,การวัด จำแนก ,มิติเวลา
หมายเหตุ ทำไมไม่ควรให้เด็กใช้ดินสอในการวาดรูป?ทีไม่ควรใช้ดินสอเพราะเด็กจะขาดความเชื่อมั่น การใช้ดินสอเด็กสามารถลบได้ แต่สีเทียนเมื่อเด็กได้วาดลงไปแล้ว เด็กจะไม่สามารถลบได้ เด็กจะเกิดการเรียนรู้มากที่สุด เด็กก็จะสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
สรุปงานแผนผังที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน การจัดโต๊ะ เก้าอี้ในรูปแบบของเกือกม้า หรือปากชามการจัดที่นั่งแบบนี้ ช่วยในการเรียนการสอน เช่น การจัดกิจกรรมการทดลอง เด็กได้เรียนรู้จากการจับ และปฏิบัติสรุปองค์ประกอบของการเขียนแผนผัง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การดิความสัมพันธ์ของ 2อย่างเข้าด้วยกัน การสังเกต ,การวัด จำแนก ,มิติเวลา
หมายเหตุ ทำไมไม่ควรให้เด็กใช้ดินสอในการวาดรูป?ทีไม่ควรใช้ดินสอเพราะเด็กจะขาดความเชื่อมั่น การใช้ดินสอเด็กสามารถลบได้ แต่สีเทียนเมื่อเด็กได้วาดลงไปแล้ว เด็กจะไม่สามารถลบได้ เด็กจะเกิดการเรียนรู้มากที่สุด เด็กก็จะสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
บันทึกครั้งที่ 13
วันพุธ ที่ 15 กันยายน 2553
มีการนำเสนอ mind map องค์ความรู้ใหม่ (ต่อ) มีการเพิ่มเนื้อหาใหม่ๆ ปรับปรุงให้สมบูรณ์และให้สอดคล้องกับวิทยาศาสตร์
มีการนำเสนอ mind map องค์ความรู้ใหม่ (ต่อ) มีการเพิ่มเนื้อหาใหม่ๆ ปรับปรุงให้สมบูรณ์และให้สอดคล้องกับวิทยาศาสตร์
บันทึกครั้งที่ 12
วันพุธ ที่ 8 กันยายน 2553
สรุปกิจกรรมจากการไปทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์ โดยสรุปหน้าชั้นเรียนในรูปแบบของ power point ทีละกลุ่ม แบ่งกลุ่มเลือกหน่วย 1 หน่วย แยกส่วนประกอบที่สำคัญๆเพื่อนำมาสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ โดยนำวิทยาศาสตร์มาประกอบในการสร้างองค์ความรู้ใหม่
สรุปกิจกรรมจากการไปทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์ โดยสรุปหน้าชั้นเรียนในรูปแบบของ power point ทีละกลุ่ม แบ่งกลุ่มเลือกหน่วย 1 หน่วย แยกส่วนประกอบที่สำคัญๆเพื่อนำมาสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ โดยนำวิทยาศาสตร์มาประกอบในการสร้างองค์ความรู้ใหม่
วันจันทร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2553
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)